The Exhibition Opening of
“Whisperer”
by Amnaj Wachirasuton
April 21, 2018

 

Gallery Seescape Chiang Mai launched the new exhibition entitled “Whisperer” by Amnaj Wachirasut on April 21, 2018 to a wide audience.
The opening reception of “Whisperer” is the gallery’s new exhibition of Amnaj Wachirasut and it is curated by Sebastien Tayac. The exhibition opening consisted of an opening ceremony including an artist talk session. With the warm atmosphere and liveliness, the opening night was successful and well-received by local and international audiences. In the event, there was not only an art exhibition, but also the live cello music playing during the opening and the exquisite food and beverage served by SS 1254372 café.
The exhibition “Whisperer” is a landscape paintings inspired from mysterious stories, Amnaj leads viewers to various energies hidden in its landscape paintings. Amnaj used to paint mainly characters, but now instead he chose landscape and empty space to express his messages.
The exhibition duration will be from April 21 – July 4, 2018. For those who would like to visit the exhibition, you can visit by the gallery hours which are 11.00 – 20.00 hrs. (Closed on Monday)

 

For more information:
Address: Gallery Seescape, Chiang Mai
22/1 Nimmanhemin soi 17 Road. Suthep,
Muang Chiangmai 50200 Thailand.
Facebook: Gallery Seescape
Instagram: Galleryseescape.official
Email: galleryseescape@gmail.com
Tel: +66 93 8319394


 

“whisperer”
Amnaj Wachirasut
Curated by Sebastien Tayac
21 APR – 4 JUL 2018
Presented by Gallery Seescape Chiang Mai

The argument that painting is about itself, that it does not need to concern itself with the description or appearance of the visible world, rests on the idea that this can be achieved much better by photography – which is like saying, we know what the world looks like: it looks like a photograph. This seems to me to make the world a duller place. I don’t think we fully know what the world looks like, because I think you begin to realize that whatever you’re looking at, what you experience, is, after all, through your own consciousness. So you realize it’s not possible to separate what you’re looking at from yourself; at some point it’s connected with you when you’re looking at it.

David Hockney, That’s the way I see it, 1993, Thames and Hudson, p 127.

 

Ghostly, hauntingly and fascinating, the landscape paintings of Amnaj Wachirasut do not remain silent… The mild whistling of the wind, or rather the whispering emanating from an invisible presence, absorbs the viewers who gaze at this scenery. A universe of mist and fog surrounds us, encircles us. The absence of human beings or animals in these rural and urban landscapes reinforces the impression of strangeness. If this exhibition was a movie, it would be a synthesis between the absurd/weird of David Lynch (Mulholland Drive, Twin Peaks…) and the shabby/darkness of Tim Burton (Beetlejuice, Edward Scissorhands…), with the original soundtrack of the album Les Revenants by the Scottish band Mogwai. Giving free rein to our imagination is not such an outlandish idea as it sounds…

Although close to the limits of abstraction, all the works exhibited remain nonetheless figurative. The singular atmosphere perceptible in Amnaj Wachirasut’s artworks has traces of two major influences – rather complementary than opposed -, namely on the one hand the fantastic ghost stories of Hem Vejchakorn, and on the other hand the alchemy from the relationship between light and colours observed during twilight. Fascinated by these variations and fluctuations of colours according to the light, Amnaj Wachirasut self-defines as a 21st century impressionist painter who continues to use oil paint for his artworks. Nevertheless, instead of painting en plein air, Amnaj Wachirasut used selected or taken digital photographs in order to express his inner feelings. This process should not be seen as a retrograde, but on the contrary as an open approach that can be a part of the lineage of contemporary artists inspired by ancient artists similar to the approach of David Hockney/Fra Angelico or Mark Rothko/Michelangelo. The various textures visible on the canvas are the results of distinct techniques, several moments, and an alternation from precise and fluid gestures to those closer to Jackson Pollock’s action painting or Anselm Kiefer’s painting process. In doing so, Amnaj Wachirasut assumed and at the same time rejected the legacy of the history of landscape painters and positioned himself in the contemporaneity of global new art worlds by interrogating not only himself, but also us about the new postulates on the perfection of imperfection, as well as the aesthetic of the anti-aesthetics.

Sebastien Tayac


 

whisperer
ทัศนียกาศ

ข้อโต้แย้งที่ว่าจิตรกรรมเป็นเรื่องเกี่ยวกับตนเอง จึงไม่มีความจำเป็นต้องสนใจคำพรรณาหรือภาพลักษณ์ของโลกที่เห็นได้นั้น ตั้งอยู่บนฐานความคิดที่ว่าภาพถ่ายสามารถถ่ายทอดลักษณะดังกล่าวได้ดีกว่า เปรียบเสมือนกับการที่เรากล่าวว่า เรารู้ว่าโลกมีลักษณะอย่างไรเพราะมันมีลักษณะเหมือนรูปถ่าย ผมเห็นว่าข้อโต้แย้งดังกล่าวดูเหมือนจะทำให้โลกเป็นสถานที่ที่น่าเบื่อมากยิ่งขึ้น ผมไม่คิดว่าเราทราบอย่างแท้จริงว่าโลกมีลักษณะอย่างไร เพราะผมคิดว่าเราเริ่มมีความเข้าใจว่าสิ่งที่เรามองหรือประสบพบเจอล้วนผ่านมาจากความตระหนักรู้ของเราเอง ดังนั้นเราจึงตระหนักว่ามันเป็นไปไม่ได้ที่จะแยกสิ่งที่เรามองเห็นออกจากตัวตนของเรา ในบางครั้งสิ่งที่เรามองเห็นได้เชื่อมโยงกับตัวเราเพียงเมื่อเรามองมัน

เดวิด ฮอคนีย์, ในทัศนะของผม, 1993, เทมส์และฮัดสัน, หน้า 127.

 

จิตรกรรมภูมิทัศน์ของ อำนาจ วชิรสูตร มีลักษณะคล้ายภูตผี วิญญาณ มีเสน่ห์ตราตรึงในความทรงจำ และไม่คงความเงียบงัน… เสียงลมกระซิบหรือเสียงกระซิบแผ่วเบาที่แว่วมาจากสิ่งที่มองไม่เห็นได้ดูดกลืนผู้ชม ผู้จ้องมองทัศนียภาพนี้ จักรวาลของหมอกและควันได้ล้อมรอบและโอบกอดเราไว้ การไม่มีมนุษย์หรือสัตว์ในภูมิทัศน์ชนบทและเมืองล้วนแต่ตอกย้ำความรู้สึกแปลกประหลาดนี้ หากเปรียบนิทรรศการนี้เป็นภาพยนตร์ ก็คงจะเปรียบได้กับงานสังเคราะห์ระหว่างความไม่มีเหตุผล/ความประหลาดของ David Lynch (Mulholland Drive, Twin Peaks…) ความโกโรโกโสและความมืดมัวของ Tim Burton (Beetlejuice, Edward Scissorhands…) โดยมีเพลงประกอบจากอัลบั้ม Les Revenants โดยวงดนตรีชาวสก็อต Mogwai การให้อิสระอย่างเต็มที่แก่จินตนาการของเราอาจไม่ใช่แนวคิดที่แปลกประหลาดนัก…

แม้จะเข้าใกล้พรมแดนของศิลปะนามธรรม แต่งานศิลปะทุกชิ้นในนิทรรศการนี้ยังคงจัดเป็นศิลปะที่เป็นรูปธรรม บรรยากาศเพียงหนึ่งที่ปรากฏในงานศิลปะของ อำนาจ วชิรสูตร มีร่องรอยของอิทธิพลที่สำคัญอยู่สองแหล่งด้วยกันทั้งนี้อิทธิพลทั้งสองมีลักษณะเติมเต็มมากกว่าต่อต้าน ด้านหนึ่ง คือ เรื่องภูตผีที่น่ามหัศจรรย์ของ เหม เวชกร และอีกด้านหนึ่ง คือ การเล่นแร่แปรธาตุจากความสัมพันธ์ระหว่างแสงและสีที่พบเห็นในช่วงเวลาสนธยา อำนาจ วชิรสูตร หลงใหลกับการแปรผันและการผันผวนของสีสืบเนื่องจากแสงเหล่านี้ จึงนิยามตนเองว่าเป็นจิตรกรแนวอิมเพรสชันนิสม์แห่งศตวรรษที่ 21 ผู้ยังคงใช้สีน้ำมันในงานศิลปะของเขาต่อไป อย่างไรก็ตาม อำนาจ วชิรสูตร ใช้ภาพถ่ายดิจิทัลทั้งที่คัดสรรหรือถ่ายภาพด้วยตนเองเพื่อแสดงออกถึงความรู้สึกภายในของเขาแทนการวาดภาพกลางแจ้ง กระบวนการดังกล่าวไม่ควรถูกมองว่าเป็นการถอยหลัง ในทางตรงกันข้ามควรได้รับการยอมรับในฐานะวิธีการแบบเปิดที่สามารถเป็นส่วนหนึ่งของสายสกุลของศิลปินร่วมสมัยผู้ได้รับแรงบันดาลใจจากศิลปินรุ่นเก่า เฉกเช่นกระบวนการของ David Hockney/Fra Angelico หรือ Mark Rothko/Michelangelo ลักษณะพื้นผิวต่างๆ ที่ปรากฏบนผืนผ้าใบเป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการใช้เทคนิคที่แตกต่างอย่างเด่นชัด ช่วงเวลาที่หลากหลาย และการสับเปลี่ยนระหว่างฝีแปรงที่แม่นยำและลื่นไหล ไปยังฝีแปรงที่ใกล้เคียงกับกัมมันตจิตรกรรมของ Jackson Pollock หรือ กระบวนการเขียนภาพของ Anselm Kiefer การกระทำดังกล่าวของ อำนาจ วชิรสูตร ทั้งยอมรับและปฏิเสธมรดกทางประวัติศาสตร์ของจิตรกรรมภูมิทัศน์ในคราเดียวกัน และจัดวางตนเองในความร่วมสมัยของโลกแห่งศิลปะใหม่ทั้งหลายทั่วโลก โดยการซักถามทั้งตนเองและเราทั้งหลายเรื่องข้อสันนิษฐานใหม่ๆ เกี่ยวกับความสมบูรณ์ของความไม่สมบูรณ์ และสุนทรียศาสตร์ของการต่อต้านสุนทรียศาสตร์

เซบาสเตียน ตา-ยาค